หน่วยที่
1
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีและสารสนเทศทางการศึกษา
ความหมายนวัตกรรมและเทคโนโลยีและสารสนเทศทางการศึกษา
ศาสตร์
ที่ว่าด้วยวิธีการทางการศึกษาครอบคลุมระบบการนำวิธีการมาปรับปรุง ประสิทธิภาพของการศึกษาให้สูงขึ้นเทคโนโลยีทางการศึกษาครอบคลุมองค์ประกอบ 3 ประการคือ วัสดุ อุปกรณ์และวิธีการ เป็นการพัฒนาและประยุกต์ระบบเทคนิคและอุปกรณ์ ให้สามารถนำมาใช้ในสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม
เพื่อสร้างเสริมกระบวนการเรียนรู้ของคนให้ดียิ่งขึ้น นอกจากนี้
เทคโนโลยีทางการศึกษา
เป็นการขยายแนวคิดเกี่ยวกับโสตทัศนศึกษาให้กว้างขวางยิ่งขึ้น
นวัตกรรม แบ่งออกเป็น 3 ระยะ คือ
ระยะที่ 1 มีการประดิษฐ์คิดค้น (Innovation) หรือเป็นการปรุงแต่งของเก่าให้เหมาะ สมกับกาลสมัย
ระยะที่ 2 พัฒนาการ (Development) มีการทดลองในแหล่งทดลองจัดทำอยู่ในลักษณะของโครงการทดลองปฏิบัติก่อน (Pilot Project)
ระยะที่ 3 การนำเอาไปปฏิบัติในสถานการณ์ทั่วไป ซึ่งจัดว่าเป็นนวัตกรรมขั้นสมบูรณ์
ระยะที่ 2 พัฒนาการ (Development) มีการทดลองในแหล่งทดลองจัดทำอยู่ในลักษณะของโครงการทดลองปฏิบัติก่อน (Pilot Project)
ระยะที่ 3 การนำเอาไปปฏิบัติในสถานการณ์ทั่วไป ซึ่งจัดว่าเป็นนวัตกรรมขั้นสมบูรณ์
ปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลอันมีผลทำให้เกิดนวัตกรรม
1.
แนวความคิดพื้นฐานในเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคล
2. แนวความคิดพื้นฐานในเรื่องความพร้อม
3. แนวความคิดพื้นฐานในเรื่องการใช้เวลาเพื่อการศึกษา
นวัตกรรมที่สนองแนวความคิด
4.
แนวความคิดพื้นฐานในเรื่องการขยายตัวทางวิชาการและอัตราการเพิ่มประชากรนวัตกรรม ด้านนี้ที่เกิดขึ้น
ปัญหาที่พบในการใช้นวัตกรรม
1. ปัญหาด้านบุคลากร
บุคลากรขาดความรู้ความเข้าใจในการผลิตสื่อประกอบการจัดกิจกรรม
2. ปัญหาด้านวัสดุ อุปกรณ์ และงบประมาณ เกี่ยวกับนวัตกรรม คือ
ขาดงบประมาณในการพัฒนานวัตกรรม
3. ปัญหาด้านสภาพแวดล้อม และสถานที่การใช้นวัตกรรม
สภาพแวดล้อมโดยทั่วไปยังไม่เหมาะสมกับการใช้สื่อ
4. ปัญหาด้านสภาพการเรียนการสอน เด็กมีความแตกต่างกันด้านสติปัญญา
และด้านร่างกาย ปัญหาครอบครัวแตกแยก
5. ปัญหาด้านการวัดผลและประเมินผล คือ
บุคลากรขาดความรู้ในการที่จะนำสื่อนวัตกรรมมาใช้ในการวัดผลและประเมินผล
ปัญหา อุปสรรค การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของสถานศึกษา
1.
ด้านการกระจายโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการศึกษา มีสถานศึกษาจำนวนหนึ่งที่โทรศัพท์ยังเข้าไม่ถึง
และคอมพิวเตอร์ยังไม่มีหรือมีแต่ไม่เพียงพอต่อความต้องการ
2.
ด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ครูใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อพัฒนาทักษะวิชาชีพครูน้อยมาก
3.
ด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อพัฒนาการบริหารจัดการและให้บริการทางการศึกษา
สถานศึกษายังขาดรูปแบบระบบสารสนเทศ
4.
ด้านการผลิตและพัฒนาบุคลากรด้านการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ
การพัฒนาตนเองของครูด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศยังขาดความต่อเนื่อง
เป้าหมายของเทคโนโลยีการศึกษา
1. การขยายพิสัยของทรัพยากรของการเรียนรู้
- แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ที่สำคัญซึ่งได้แก่
ครูและวิทยากรอื่น
-
วัสดุและเครื่องมือ ได้แก่ โสตทัศนวัสดุอุปกรณ์ ต่าง ๆ
- เทคนิค-วิธีการ
แต่เดิมนั้นการเรียนการสอนส่วนมาก ใช้วิธีให้ครูเป็นคนบอกเนื้อหา
- สถานที่ อันได้แก่
โรงเรียน ห้องปฏิบัติการทดลอง
2. การ ใช้วิธีวิเคราะห์ระบบในการศึกษา
การใช้วิธีระบบ ในการปฏิบัติหรือแก้ปัญหา
3. พัฒนา เครื่องมือ-วัสดุอุปกรณ์ทางการศึกษา วัสดุและเครื่องมือต่าง
ๆ ที่ใช้ในการศึกษา
แผนภูมิแนวคิดของเทคโนโลยีการศึกษา
แนวคิดของเทคโนโลยีการศึกษาจึงประกอบด้วยส่วน สำคัญ 5 กลุ่ม คือ การออกแบ(design) การพัฒนา(Development)การใช้(utilization) การจัดการ(management) และการประเมิน(evaluation)
ซึ่งแต่ละกลุ่มจะโยงเข้าสู่ศูนย์กลางของทฤษฏีและปฏิบัติดังนั้นเทคโนโลยีการศึกษาจึงเป็นผสมผสานกันระหว่างความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์เป็นการประยุกต์เอาแนวคิดความคิด
เทคนิค วิธีการ วัสดุอุปกรณ์ และสิ่งต่างๆ
อันสืบเนื่องมาจากเทคโนโลยีมาใช้ในวงการศึกษานั้นเอง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น