หน่วยที่ 3
การสื่อสารเพื่อการเรียนการสอน
สื่อการเรียนการสอน
หมายถึง ตัวกลางหรือช่องทางในการถ่ายทอดองค์ความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ จากแหล่งความรู้ไปสู่ผู้เรียน และทำให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพผู้เรียนจะบรรลุจุดประสงค์การเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สื่อการสอนมี 4 ประเภท
1.สื่อวัสดุ
2.สื่ออุปกรณ์
3.สื่อเทคนิคหรือวิธีการและ
4.สื่อคอมพิวเตอร์
การเรียนรู้กับการเรียนการสอน
1.การเรียนรู้ การเรียนรู้โดยทั่วไป หมายถึง ความสัมพันธ์ต่างๆ จนถึงขั้นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมหรือมีความสามารถในเรื่องใดเรื่อง
2.การสอน หมายถึง การจัดประสบการณ์หรือสถานการณ์ต่างๆ เพื่อช่วยให้ผู้เรียนประสบผลสำเร็จในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนการให้การศึกษาและการฝึกอบรมโดยทั่วไป ถือว่าเป็นหน้าที่ของครู
ขั้นตอนของการออกแบบระบบการเรียนการสอน
เราสามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ขั้นตอนใหญ่ๆ ดังนี้
1.กำหนดเนื้อหาและจุดมุ่งหมาย
2.การทดสอบก่อนการเรียน
3.ออกแบบกิจกรรมและวิธีการสอนโดยคำนึงถึงผู้เรียนเป็นหลัก เวลา สถานที่ สภาพแวดล้อม
4.การทดสอบหลังการเรียน มุ่งหวังเพื่อวัดและประเมินผล
4.1 วัดผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนเป็นรายบุคคล
4.2 วัดความสำเร็จของหลักสูตรหรือระบบการเรียนการสอน
ประเภทของสื่อการเรียนการสอน
1.สื่อประเภท
1.1วัสดุที่เสนอความรู้ได้จากตัวมันเอง ได้แก่หนังสือเรียนหรือตำราของจริง
1.2วัสดุที่ต้องอาศัยสื่อประเภทเครื่องมือ
2. สื่อประเภทเครื่องมือ หรือโสตทัศนูปกรณ์ ได้แก่ สื่อที่เป็นตัวกลางหรือทางผ่านของความรู้ ที่ถ่ายทอดไปยังครูและ
3.สื่อประเภทเทคนิคหรือวิธีการ จะต้องใช้เทคนิคและกลวิธีต่าง ๆ ควบคู่กันไปโดยเน้นที่เทคนิคและวิธีการเป็นสำคัญ
คุณค่าของสื่อการเรียนการสอน
1.สื่อการเรียนการสอนสามารถเอาชนะข้อจำกัดเรื่องความแตกต่างกันของ ประสบการณ์ดั้งเดิมของ
2.ขจัดปัญหาเกี่ยวกับเรื่องสถานที่ ประสบการณ์ตรงบางอย่าง หรือการเรียนรู้
3.ทำให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรงจากสิ่งแวดล้อมและสังคม
4.สื่อการเรียนการสอนทำให้เด็กมีความคิดรวบยอดเป็นอย่างเดียวกัน
5.ทำให้เด็กมีมโนภาพเริ่มแรกอย่างถูกต้องและสมบูรณ์
6.ทำให้เด็กมีความสนใจและต้องการเรียนในเรื่องต่าง ๆ มาก
7.เป็นการสร้างแรงจูงใจและเร้าความสนใจ
8.ช่วยให้ผู้เรียนได้มีประสบการณ์จากรูปธรรมสู่นามธรรม
ความสำคัญของสื่อการสอน
1.สื่อการสอน ช่วยสร้างรากฐานที่เป็นรูปธรรมขึ้นในความคิด
2. สื่อการสอน ช่วยเร้าความสนใจของผู้เรียน เพราะ ผู้เรียนสามารถใช้ประสาทสัมผัสได้ด้วยตา หู และการเคลื่อนไหวจับต้อง
3. เป็นรากฐานในการพัฒนาการเรียนรู้และช่วยความทรงจำอย่าง
4.ช่วยให้ผู้เรียนได้มีพัฒนาการทาง
5.ช่วยเพิ่มทักษะในการอ่านและเสริมสร้างความเข้าใจในความหมายของคำใหม่ ๆ ให้มากขึ้น
6.ช่วยให้สามารถเรียนรู้ในสิ่งที่เรียนได้ลำบากโดยการช่วยแก้ปัญหา หรือข้อจำกัดต่าง ๆ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น